ชื่อ-นามสกุล นางสาวเขมนิจ ยิ่งยงค์ ชื่อเล่น นิด เกิด 26 เมษายน พ.ศ.2529 E-mail kham29nit@gmail.com ที่อยู่ปัจจุบัน 1095/246 หมู่บ้านพฤกษา84 แขวงหลักสอง เขตบางแค กทม. 10160 จบการศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ เอกการตลาด มหาวิทยาลัยธนบุรี ที่ทำงาน โรงเรียนสารสาสน์ธนบุรี เขตบางแค กทม. คำอธิบายรายวิชา ศึกษา เรียนรู้ ตัวเลขอารบิกตัวเลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกิน 100 การนับเพิ่มทีละ 1 ทีละ 2 การนับลดทีละ 1 ทีละ 2 การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายเลขการใช้เครื่องหมาย >,<,= การเปรียบเทียบจำนวนไม่เกิน 5 จำนวนการ บวก ลบ การแสดงวิธีทำ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เขียน อ่าน เปรียบเทียบ เรียงลำดับการใช้เหตุผล การสื่อสาร เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรับผิดชอบ รอบคอบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ตระหนักในคุณค่าและมีเจคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีัวัด มาตรฐาน ค.ป 1.1: เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ค.ป 1.1อ.3/3 นับปากเปล่าจาก1ถึง50 อ่านและเขียนตัวเลขอารบิก 1ถึง50 2. สาระแกนกลาง การใช้จำนวนบอกปริมาณที่ได้จากการนับ การเขียนตัวเลขอารบิกและตัวเลขไทยแสดงจำนวน การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายเลข การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้เครื่องหมาย >,<,= การเรียงลำดับจำนวนมากไปหาน้อย และจากน้อยไปหามาก 3. สาระสำคัญ - ท่องจำและหัดเขียนตัวเลขไทยและอารบิก - นับเลขปากเปล่า 1-100 - เปรียบเทียบคุณลักษณะต่างๆ เช่น ความเหมือน-ความต่าง ขนาด รูปร่าง สี น้ำหนัก เป็นต้น - เปรียบเทียบปริมาณมากกว่า-น้อยกว่า เรียงลำดับตัวเลขได้ - จำแนกสิ่งของเป็นประเภทและหมวดหมู่ - บวกลบเลขเบื้องต้นในชีวิตประจำวัน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ 1. การเติมเครื่องหมาย >,<,= 2. การนับภาพเติมตัวเลข 4.2 ทักษะ/กระบวนการ - กระบวนการวางแผนการทำงาน - ทักษะกระบวนการทำงาน - กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม 4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้เด็กรู้จักคำศัพท์และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ขั้นต้น 2. เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการในการหาคำตอบ 3. เพื่อให้เด็กฝึกฝนทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน เช่น การนับ การวัด การจับคู่ การจัดประเภท การเปรียบเทียบ การเรียงลำดับ 4. เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ความอยากรู้ และอยากค้นคว้าเพิ่มเติม 5. เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง 6. ชิ้นงาน กิจกรรมที่1 การเติมเครื่องหมาย >,<,= 7.การวัดและประเมินผล เกณฑ์การประเมิน แบบทดสอบทำแบบฝึกหัด ทำแบบฝึกหัด 10 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน ถูก 6 ข้อขึ้นไป ถือว่า ผ่าน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนเครื่องหมาย >,<,= โดยครูเขียนตัวเลขบนกระดานสองจำนวน แล้วให้เด็กนำเครื่องหมายใส่ระหว่างเลขสองจำนวนนั้นให้ถูกต้องยกตัวอย่าง เช่น ครูเขียนจำนวน 5 และ 3 แล้วให้เด็กเลือกเครื่องหมายใส่ระหว่างเลข 5 และ 3 เมื่อเด็กทำเสร็จแล้ว 5 > 3 ครูบอกให้เด็กบรรยายประโยคสัญลักษณ์ว่า” ห้ามากกว่าสาม “ หรือ ครูเขียนจำนวน 2 และ 4 ครูให้เด็กใส่เครื่องหมาย < ครูบอกให้เด็กบรรยายประโยคสัญลักษณ์ว่า 2 < 4 “สองน้อยกว่าสี่” หรือครูเขียนจำนวน 7 และ 7 เด็กก็จะเลือกใส่เครื่องหมาย 7 = 7 ครูให้เด็กบรรยายประโยคสัญลักษณ์ว่า “เจ็ดเท่ากับเจ็ด” 2. ครูถามเด็กว่า “เราสังเกตเครื่องหมาย > และ < ที่ไหน” (ปากอ้า) “ปากอ้าจะหันไปทางจำนวนใด” (จำนวนที่มีค่ามากกว่า) “ปลายแหลมจะหันไปทางจำนวนใด” (จำนวนที่มีค่าน้อยกว่า) 3. ครูบอกเด็กว่า “เราจะมาเขียนเครื่องหมายมากกว่า น้อยกว่า และเท่ากับ ให้เด็กสังเกตดูนะคะว่า ครูเขียนอย่างไร” 4. ครูให้เด็กทำแบบฝึกหัด คณิตศาสตร์ หน้า ครูอธิบายคำสั่งก่อนแล้วให้นักเรียนนับจำนวนภาพแล้วเติมเครื่องหมาย >,<,= 9.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บัตรเครื่องหมาย >,<และ = 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558
สื่อการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ ระดับอนุบาล 3 / 3
ชื่อ-นามสกุล นางสาวเขมนิจ ยิ่งยงค์ ชื่อเล่น นิด เกิด 26 เมษายน พ.ศ.2529 E-mail kham29nit@gmail.com ที่อยู่ปัจจุบัน 1095/246 หมู่บ้านพฤกษา84 แขวงหลักสอง เขตบางแค กทม. 10160 จบการศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ เอกการตลาด มหาวิทยาลัยธนบุรี ที่ทำงาน โรงเรียนสารสาสน์ธนบุรี เขตบางแค กทม. คำอธิบายรายวิชา ศึกษา เรียนรู้ ตัวเลขอารบิกตัวเลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกิน 100 การนับเพิ่มทีละ 1 ทีละ 2 การนับลดทีละ 1 ทีละ 2 การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายเลขการใช้เครื่องหมาย >,<,= การเปรียบเทียบจำนวนไม่เกิน 5 จำนวนการ บวก ลบ การแสดงวิธีทำ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เขียน อ่าน เปรียบเทียบ เรียงลำดับการใช้เหตุผล การสื่อสาร เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรับผิดชอบ รอบคอบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ตระหนักในคุณค่าและมีเจคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีัวัด มาตรฐาน ค.ป 1.1: เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ค.ป 1.1อ.3/3 นับปากเปล่าจาก1ถึง50 อ่านและเขียนตัวเลขอารบิก 1ถึง50 2. สาระแกนกลาง การใช้จำนวนบอกปริมาณที่ได้จากการนับ การเขียนตัวเลขอารบิกและตัวเลขไทยแสดงจำนวน การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายเลข การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้เครื่องหมาย >,<,= การเรียงลำดับจำนวนมากไปหาน้อย และจากน้อยไปหามาก 3. สาระสำคัญ - ท่องจำและหัดเขียนตัวเลขไทยและอารบิก - นับเลขปากเปล่า 1-100 - เปรียบเทียบคุณลักษณะต่างๆ เช่น ความเหมือน-ความต่าง ขนาด รูปร่าง สี น้ำหนัก เป็นต้น - เปรียบเทียบปริมาณมากกว่า-น้อยกว่า เรียงลำดับตัวเลขได้ - จำแนกสิ่งของเป็นประเภทและหมวดหมู่ - บวกลบเลขเบื้องต้นในชีวิตประจำวัน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ 1. การเติมเครื่องหมาย >,<,= 2. การนับภาพเติมตัวเลข 4.2 ทักษะ/กระบวนการ - กระบวนการวางแผนการทำงาน - ทักษะกระบวนการทำงาน - กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม 4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้เด็กรู้จักคำศัพท์และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ขั้นต้น 2. เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการในการหาคำตอบ 3. เพื่อให้เด็กฝึกฝนทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน เช่น การนับ การวัด การจับคู่ การจัดประเภท การเปรียบเทียบ การเรียงลำดับ 4. เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ความอยากรู้ และอยากค้นคว้าเพิ่มเติม 5. เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง 6. ชิ้นงาน กิจกรรมที่1 การเติมเครื่องหมาย >,<,= 7.การวัดและประเมินผล เกณฑ์การประเมิน แบบทดสอบทำแบบฝึกหัด ทำแบบฝึกหัด 10 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน ถูก 6 ข้อขึ้นไป ถือว่า ผ่าน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนเครื่องหมาย >,<,= โดยครูเขียนตัวเลขบนกระดานสองจำนวน แล้วให้เด็กนำเครื่องหมายใส่ระหว่างเลขสองจำนวนนั้นให้ถูกต้องยกตัวอย่าง เช่น ครูเขียนจำนวน 5 และ 3 แล้วให้เด็กเลือกเครื่องหมายใส่ระหว่างเลข 5 และ 3 เมื่อเด็กทำเสร็จแล้ว 5 > 3 ครูบอกให้เด็กบรรยายประโยคสัญลักษณ์ว่า” ห้ามากกว่าสาม “ หรือ ครูเขียนจำนวน 2 และ 4 ครูให้เด็กใส่เครื่องหมาย < ครูบอกให้เด็กบรรยายประโยคสัญลักษณ์ว่า 2 < 4 “สองน้อยกว่าสี่” หรือครูเขียนจำนวน 7 และ 7 เด็กก็จะเลือกใส่เครื่องหมาย 7 = 7 ครูให้เด็กบรรยายประโยคสัญลักษณ์ว่า “เจ็ดเท่ากับเจ็ด” 2. ครูถามเด็กว่า “เราสังเกตเครื่องหมาย > และ < ที่ไหน” (ปากอ้า) “ปากอ้าจะหันไปทางจำนวนใด” (จำนวนที่มีค่ามากกว่า) “ปลายแหลมจะหันไปทางจำนวนใด” (จำนวนที่มีค่าน้อยกว่า) 3. ครูบอกเด็กว่า “เราจะมาเขียนเครื่องหมายมากกว่า น้อยกว่า และเท่ากับ ให้เด็กสังเกตดูนะคะว่า ครูเขียนอย่างไร” 4. ครูให้เด็กทำแบบฝึกหัด คณิตศาสตร์ หน้า ครูอธิบายคำสั่งก่อนแล้วให้นักเรียนนับจำนวนภาพแล้วเติมเครื่องหมาย >,<,= 9.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บัตรเครื่องหมาย >,<และ = 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น